บทที่6
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
1.super vgr ซุปเปอร์วีจีเอก้าด แสดงผลมูลเข้ากันได้
2.Graphic accelerator กราฟฟิคแอคเลอเรเตอร์ แสดงผลข้อมูลเปลี่ยนสันยานดิจิตอล
3.DIsplay card ดิสเพลกาด แสดงสันยานวีดีโอ
4.Monitor มอนิเตอร์ แสดงภาพ
5.crt ซีอาที สันยานภาพ
6.lcd แอลซีดี แสดงภาพดิจตอล
7.หลอดภาพ หลอดภาพ โชภาพ
8.dot pich ดอลพิช ช่วยให้ภาพละเอียด
9.vga วีจีเอ เข้าสู่ระบบ
10.3d สามดีั 3มิติ
บทที่7
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
1. modem โมเด็ม การแปลงวัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณเสียง
2. sound card ซาวด์การ์ด การ์ดแสดงเสียง
3. ISA ไอเอสเอ การ์ดแสดงเสียงแบบไอเอสเอ
4. PCI พีซีไอ การ์ดแสดงเสียงแบบพีซีไอ
5. external modem เอสเทอร์เนล โมเด็ม โมเด็มที่ติดตั้งภาพนอก
6. bit rate บีทแรร์ อัตตราการส่งขอมูล
7. baud rate ไบยแรร์ อัตตราการเปลี่ยนแปลงของลูกคลื่นนสัญญาณ
8. PCMCIA momed พีซีอ็มซีไอเอ โมเด็ม การ์ดที่เสียบกับคอมพิวเตอร์ประเภทโน็ตบุ็ค
9. cable เคเบิล สายคเบิล
10. sound no board ซาวด์ออนบอร์ด การ์ดแสดงเสียงภายในตัว
บทที่8 อุปกรณ์ต่อพ่วง
คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
1. digital camera ดิจิตอล คาเมลา กล้องดิจิตอล
2. pixel ฟิกเซล ความชัของกล้อง
3. smart media สมาร์ท มิเดีย หน่วยความจำแบบ สมาร์ทมิเดีย
4. compact flash คอมแพค เฟรช หน่วยความจำแบบคอมแพค เฟรช
5. mulit media card มัลตีมีเดียการ์ด หน่วยความจำขนาดเล็ก
6. flash drive แฟลช ไดร์ฟ แฟลชไดร์ฟ
7. printer ปริ้นเตอร์ เครื่องพิมพ์
8. ink-jet printer อิงค์-เจ็ต ปริ้นเตอร์ เครื่องพิมพ์แบบพ้นหมึก
9. laser printer เลเซอร์ ริ้นเตอร์ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์
10. scanner สแกนเนอร์
วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2556
วิธีลง Windows 7 ละเอียดทุกขั้นตอนก่อนติดตั้ง Windows 7
คอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับลง Windows 7 ควรจะมีสเปคอยู่ในระดับปานกลาง แต่แนะนำว่าควรเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นไม่เก่าจนเกินไปนัก และใช้การ์ดจอแบบ 3D ต่อไปนี้เป็นคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นต่ำที่สามารถใช้งาน Windows 7 ได้อย่างราบรื่น
- ซีพียู ความเร็วขั้นต่ำ 1 GHz (32 bit หรือ 64 bit ก็ได้)
- แรม ขั้นต่ำ 1 GB
- พื้นที่ว่าง ในฮาร์ดดิสก์ที่จะ ลง Windows 7 อย่างน้อย 16 GB
- กราฟิกการ์ด มีหน่วยความจำขั้นต่ำ 128 MB และควรสนับสนุน DirectX9
- ไดร์ฟ DVD-R/W สำหรับการลง Windows 7 ผ่านแผ่น DVD
- แรม ขั้นต่ำ 1 GB
- พื้นที่ว่าง ในฮาร์ดดิสก์ที่จะ ลง Windows 7 อย่างน้อย 16 GB
- กราฟิกการ์ด มีหน่วยความจำขั้นต่ำ 128 MB และควรสนับสนุน DirectX9
- ไดร์ฟ DVD-R/W สำหรับการลง Windows 7 ผ่านแผ่น DVD
นอกจากคุณสมบัติข้างต้นแล้ว คุณสมบัติบางอย่างของ Windows 7 อาจต้องใช้อุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติม เช่น การบันทึกรายการทีวี จะต้องมีการ์ดสำหรับการบันทึกภาพ การใช้งานระบบสัมผัส การเขียนด้วยลายมือ หน้าจอจะต้องรองรับระบบมัลติทัช เป็นต้น
วิธีลง Windows 7
1.Restart และกำหนดให้เครื่องบูตจากแผ่น DVD โดยขั้นตอนการบูตของ Windows เริ่มต้นให้เรากดปุ่ม F2 หรือ Del แล้วแต่รุ่นของไบออสในคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น ในที่นี้ยกตัวอย่างดังภาพด้านล่าง ซึ่งหลักการก็คือเมื่อเข้าไบออสได้แล้ว ให้ตั้งค่าบูตจากแผ่น CD/DVD เป็นอันดับแรก
** ส่วนมากเครื่อง PC จะกดปุ่ม Del
** โน๊ตบุ๊คส่วนใหญ่จะกดปุ่ม F2
- ในตัวอย่างนี้ให้กดปุ่มลูกศรที่คีย์บอร์ดเลื่อนลงมาเลือก Advanced BIOS Features
- ให้เลื่อนลงมาเลือกตรง First Boot Device กด Enter แล้วเลือกเป็น CD/DVD ROM
- เมื่อตั้งค่าเสร็จแล้วให้กดปุ่ม F10 บนคีย์บอร์ดแล้วพิมพ์ Y หลังจากนั้นกด Enter
2.เริ่มขั้นตอนการลง Windows 7 จากแผ่น DVD สังเกตว่าเมื่อเครื่องเริ่มบูตจากแผ่นจะขึ้นข้อความดังภาพ ในขั้นตอนนี้ให้เรากดปุ่มใดๆ บนคีย์บอร์ดก็ได้เพื่อทำการบูต Windows
3.เลือกภาษาที่ใช้ในระหว่างการลง
4.เลือกประเทศ ในที่นี้เลือกประเทศ Thai
5.เลือกวิธีจัดวางคีย์บอร์ดที่รองรับภาษาไทย จากนั้นคลิกปุ่ม Next
6.คลิกปุ่ม Install now
7.เลือกเวอร์ชันของ Windows 7 ที่ต้องการลง จากนั้นคลิกปุ่ม Next
8.คลิก I Accept ยอมรับข้อตกลงเรื่องลิขสิทธิ์ แล้วคลิกปุ่ม Next
9.คลิก Custom (Advanced)
** เรื่องเกี่ยวกับฟอร์แมตพาร์ติชันก่อนลง Windows 7 **
ก่อนเข้าสู่การลง Windows 7 ขั้นตอนถัดไป หากไดร์ฟ หรือพาร์ติชันที่ต้องการลง Windows 7 เป็นไดร์ฟเก่าที่ยังคงมีข้อมูลเดิมอยู่ เราสามารถเลือกฟอร์แมตไดร์ฟนี้ก่อนได้ เพื่อล้างข้อมูลทั้งหมดบนไดร์ฟที่เลือก และเป็นการจัดระเบียบพื้นที่บนฮาร์ดดิสก์ใหม่ด้วย
การฟอร์แมตพาร์ติชันนี้ เราสามารถเลือกใช้คำสั่งระหว่างขั้นตอนการ ลง Windows 7 ได้ทันที โดยในขั้นตอนการเลือกพาร์ติชันสำหรับลง Windows 7 ให้เราคลิกที่ Drive options (Advanced) และเข้าไปเลือกสั่งฟอร์แมตพาร์ติชันก่อนได้ ดังนี้
การฟอร์แมตพาร์ติชันนี้ เราสามารถเลือกใช้คำสั่งระหว่างขั้นตอนการ ลง Windows 7 ได้ทันที โดยในขั้นตอนการเลือกพาร์ติชันสำหรับลง Windows 7 ให้เราคลิกที่ Drive options (Advanced) และเข้าไปเลือกสั่งฟอร์แมตพาร์ติชันก่อนได้ ดังนี้
- เลือกพาร์ติชันสำหรับ ลง Windows 7 ที่จะฟอร์แมตก่อน
- คลิกที่ Drive options (Advanced)
- คลิกที่ Drive options (Advanced)
- จะปรากฏคำสั่งสำหรับจัดการพาร์ติชัน ให้คลิกที่ Format เพื่อสั่งฟอร์แมตพาร์ติชันที่เลือก
นอกจากคำสั่ง Format แล้ว ในส่วนของ Drive options ยังมีคำสั่งอื่นๆ สำหรับจัดการพาร์ติชันที่เลือกอีก ดังต่อไปนี้
Refresh : ให้โปรแกรมติดตั้งตรวจสอบพื้นที่พาร์ติชันใหม่อีกครั้ง
Delete : ลบพาร์ติชันที่เลือกอยู่ ผลลัพธ์ที่ได้จะได้พาร์ติชันที่ไม่มีการจัดรูปแบบ (Unpartitioned space)
New : เลือกสร้างพาร์ติชันใหม่ (ต้องมีพื้นที่พาร์ติชันที่ยังไม่มีการจัดรูปแบบอยู่ด้วย เพื่อดึงพื้นที่ไปใช้)
Load Driver : โหลดไดรเวอร์ของอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้เพิ่มเติม เช่น ไดรเวอร์ฮาร์ดดิสก์ SATA รุ่นใหม่
Extend : ขยายขนาดของพาร์ติชันที่เลือก
Delete : ลบพาร์ติชันที่เลือกอยู่ ผลลัพธ์ที่ได้จะได้พาร์ติชันที่ไม่มีการจัดรูปแบบ (Unpartitioned space)
New : เลือกสร้างพาร์ติชันใหม่ (ต้องมีพื้นที่พาร์ติชันที่ยังไม่มีการจัดรูปแบบอยู่ด้วย เพื่อดึงพื้นที่ไปใช้)
Load Driver : โหลดไดรเวอร์ของอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้เพิ่มเติม เช่น ไดรเวอร์ฮาร์ดดิสก์ SATA รุ่นใหม่
Extend : ขยายขนาดของพาร์ติชันที่เลือก
- แจ้งว่าข้อมูลบนไดร์ฟที่เลือกทั้งหมดจะถูกลบทิ้ง ให้เราคลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการฟอร์แมต
- โปรแกรมติดตั้งจะทำการฟอร์แมตพาร์ติชัน ให้เรารอสักครู่
10.เมื่อ Format เสร็จแล้ว ให้คลิกเลือกไดรฟ์ที่จะลง Windows ข้อสังเกตหลังจากเรา Format แล้วพื้นที่ไดรฟ์ในส่วนของ Total Size และ Free Space จะเท่ากัน
11.คลิกปุ่ม Next
12.ขั้นตอนนี้จะมีการก๊อบปี้ไฟล์ลงไดรฟ์ที่เราเลือกลง Windows 7
13.บางครั้งอาจมีการ Restart เครื่อง
14.จะพบหน้าต่างสำหรับการปรับแต่งครั้งแรกก่อนมีการใช้งาน ให้รอสักครู่
15.เมื่อขั้นหน้าต่างดังภาพ ให้กรอกชื่อผู้ใช้ (User Name)
16.กรอกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นคลิกปุ่ม Next
17.ตั้งรหัสผ่าน
18.กรอกรหัสผ่านเดิมซ้ำอีกครั้ง
19.กรอกข้อความที่ใช้ไขปริศนารหัสผ่านในกรณีลืมรหัสผ่าน จากนั้นคลิกปุ่ม Next
20.กรอก Product Key จากนั้นคลิกปุ่ม Next
21.คลิก User recommended
22. ตั้งวันที่ และเวลาให้ถูกต้อง หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Next
- Time zone : UTC+07.00 Bangkok,Hanoi,Jakarta
23.เสร็จสิ้นขั้นตอนการลง Windows 7
วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556
- อ่าน: 31606 - หมวดหมู่: วิดีโอ ออดิโอ
DivX Plus เป็นโปรแกรมดูหนังฟังเพลงระบบ DivX ที่ให้ภาพคมชัดและเสียงชัดเจน โปรแกรมประกอบไปด้วยโปรแกรมย่อยอีก 4 โปรแกรมด้วยกัน คือ DivX Plus Player ที่ใช้เพื่อเปิดดูไฟล์หนังที่ใช้งานระบบ DivX เช่นไฟล์ AVI, DIVX, MKV, MP4, MOV, WMV ฯลฯ, DivX Plus Web Player ที่ใช้ช่วยดูหนัง Streaming ระบบภาพ HD และระบบเสียง 5.1 Surround, DivX Plus Converter ที่จะช่วยให้เราสามารถแปลงไฟล์ DivX ให้เป็นไฟล์ทั่วไปที่สามารถนำไปดูด้วยโปรแกรมทั่วไปได้, DivX Plus Codec Pack เป็น codec ที่จำเป็นสำหรับการเปิดไฟล์ DivX บนเครื่อง ทำให้เราสามารถเปิดดูไฟล์หนัง DixV และแปลงไฟล์ได้
DivX Plus เป็นโปรแกรมดูหนังฟังเพลงระบบ DivX ที่ให้ภาพคมชัดและเสียงชัดเจน โปรแกรมประกอบไปด้วยโปรแกรมย่อยอีก 4 โปรแกรมด้วยกัน คือ DivX Plus Player ที่ใช้เพื่อเปิดดูไฟล์หนังที่ใช้งานระบบ DivX เช่นไฟล์ AVI, DIVX, MKV, MP4, MOV, WMV ฯลฯ, DivX Plus Web Player ที่ใช้ช่วยดูหนัง Streaming ระบบภาพ HD และระบบเสียง 5.1 Surround, DivX Plus Converter ที่จะช่วยให้เราสามารถแปลงไฟล์ DivX ให้เป็นไฟล์ทั่วไปที่สามารถนำไปดูด้วยโปรแกรมทั่วไปได้
DivX Plus DivX is a music system that delivers crisp and clear sound. The program consists of a sub-program, 4 programs with the DivX Plus Player is used to play back movie files use DivX files, such as AVI, DIVX, MKV, MP4, MOV, WMV, etc., DivX Plus Web Player for help. Streaming movie HD picture and audio 5.1 Surround, DivX Plus Converter allows us to convert DivX files to files that can be viewed by the general.
Free DivX Plus Software includes everything you need to play, create, and stream all the most popular digital video formats. Transfer video to a DivX Certified TV, tablet or mobile phone, and stream your video collection to any DLNA-compatible device. Use Converter to create DivX, AVI, MKV, and MP4 videos. Watch video in Player or Web Player with subs, audio tracks, etc. Use Codec Pack to play/create DivX video with 3rd party players and editing tools.
DivX Plus DivX is a music system that delivers crisp and clear sound. The program consists of a sub-program, 4 programs with the DivX Plus Player is used to play back movie files use DivX files, such as AVI, DIVX, MKV, MP4, MOV, WMV, etc., DivX Plus Web Player for help. Streaming movie HD picture and audio 5.1 Surround, DivX Plus Converter allows us to convert DivX files to files that can be viewed by the general.
Free DivX Plus Software includes everything you need to play, create, and stream all the most popular digital video formats. Transfer video to a DivX Certified TV, tablet or mobile phone, and stream your video collection to any DLNA-compatible device. Use Converter to create DivX, AVI, MKV, and MP4 videos. Watch video in Player or Web Player with subs, audio tracks, etc. Use Codec Pack to play/create DivX video with 3rd party players and editing tools.
วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556
WinSnap 1.1.10 (Lastest Free Version)
โพสต์เมื่อ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2552 เวลา 11:12:13
WinSnap is a small enhancement utility for taking and editing screenshots with eye candy drop shadows, powerful image processing and auto-save features
WinSnap เป็นโปรแกรมจับภาพหน้าจอ (Screen Capture) ที่มีความสามารถในแบบที่หลายโปรแกรมไม่มี นั่นคือการจับภาพและใส่เงา + Effect รูปแบบต่าง ๆ เข้าไปในภาพ ปกติเวลาเราจับภาพหน้าต่างใด ๆ บน Windows เราจะได้ภาพแบน ๆ ไม่มีมิติ แต่โปรแกรมนี้สามารถใส่เงาหรือ Effect อื่น ๆ ทำให้ภาพดูมีชีวิตชีวาได้ นอกจากนั้นโปรแกรมยังมีขนาดเล็ก พกพาใส่ Flash Drive ได้สบาย ๆ
เวอร์ชันปัจจุบันคือ 3.xx แต่เป็น Shareware (ไม่ฟรี) เวอร์ชันที่นำมาให้โหลดกันนี้คือ 1.1.0 ซึ่งเป็นเวอร์ชันฟรีเวอร์ชันสุดท้าย ยังสามารถใช้งานได้ดีกับ Windows XP แต่กับ Windows Vista หรือ 7 อาจจะใช้งานไม่ได้ดีนักหากเปิด Aero Effect (ผมลองกับตอนปิด Aero พบว่าใช้งานได้ดีครับ)
ด้านล่างนี้เป็นภาพตัวอย่างโปรแกรม Paint ที่จับภาพด้วย WinSnap ครับ จะสังเกตเห็นเงารอบหน้าต่างโปรแกรม Paint ซึ่งช่วยให้ภาพที่จับมาได้นั้นดูมีความน่าสนใจมากขึ้น
<< Snagit Tutorials >> |
เขียนโดย คุณ ตี๋บ้านบึง |
ผมกำลังศึกษาวิธีการใช้ Snagit อย่างละเอียด จึงขออนุญาตินำมาเผยแพร่สำหรับมือใหม่โดยเฉพาะ แต่มือเก่าก็สามารถนำไปใช้ดูเพิ่มเติมได้ครับ ทั้งหมดนี้ผมเรียบเรียงมาจาก Snagit Tutorials ของเว็บผู้ผลิตครับ รวมทั้งอ่านจาก Help ประกอบไปด้วย ยาวพอดูเหมือนกัน ผมจะทยอยลงมาให้แฟนนานุแฟน (ขอยืมสำนวนต่วยตูน) ทั้งหลายได้ศึกษาไปพร้อมกับผมนะครับ ตามสไตล์ของผมครับ คือ สูงสุดย่อมคืนสู่สามัญ ภาษาประกิตเขาว่า Simplicity is the best คติของผม ยากๆไม่ ง่ายๆทำ เหอๆๆๆ Tutorial ชุดนี้สำหรับเวอร์ชั่น 7 ขึ้นไป แบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ 1. Capture Tutorials 2. Edit Tutorials 3. Organize Tutorials ผมจะเริ่มจากภาคแรกก่อน Capture Tutorials เริ่มบทเรียนแรกเลยครับ ...แอ่น แอน แอ๊น.... บทเรียนที่ 1 ภาพรวมของโปรแกรม แบ่งออกเป็น 5 ส่วนดังนี้ 1. Capture Profiles -- เป็นการจับภาพสำเร็จรูปที่โปรแกรมจัดเตรียมให้พร้อมใช้งานในลักษณะต่างๆกัน 2. Capture Settings -- คือการตั้งค่าและเลือกคุณสมบัติต่างๆของการจับภาพให้เหมาะสม และตรงกับความต้องการของเราครับ 3. Capture Button -- คลิกเพื่อจับภาพหรือจะใช้ Hot Key โดยค่าดีฟอล์ทคือ Shift+Ctrl+P เราสามารถจะเปลี่ยนค่านี้เป็นปุ่มอะไรก็ได้ 4. Edit Tab -- โหมดเครื่องมือสำหรับการตกแต่งภาพทั้งหมดของโปรแกรม เมื่อคลิกเข้าไปจะมี 3 หมวด คือ Editor, Studio & Batch Conversion Wizard 5. Orgainize Tab -- เป็นเครื่องมือในการจัดการภาพที่จับมาจากหน้าจอ เพื่อนำไปใช้งานตามประเภท แบ่งเป็น Catalog Browser, Web Page Creator & Snagit Printer Capture ดูตามรูปไปก่อนนะครับ แล้วเดี๋ยวค่อยเข้าไปเจาะลึกกันในแต่ละส่วนต่อไป บทที่ 2 คุณลักษณะของการจับภาพในแบบประเภทต่างๆ มาดูรายละเอียดในส่วนของ Capture Profiles ซึ่งเป็นโหมดการจับภาพสำเร็จรูปดังที่กล่าวมาแล้วครับผม เจ้า Capture Profiles นี้ดูจากรูปแล้วจะแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ฺBasic Capture Profiles -- เป็นการจับภาพที่เราใช้มากที่สุดหรือเป็นประจำในการจับภาพ มี 6 ชนิดให้เลือกใช้ 2. Other Capture Profiles -- เป็นการจับภาพที่ใช้งานรองลงมาจากข้อ 1 มี 6 ชนิดเช่นกันครับ ส่วน My Profiles และ Imported Profiles นั้นเป็นชนิดการจับภาพที่เราสร้างขึ้นจากส่วนผสมและการตั้งค่านอกเหนือจากทั้ง 2 ข้อดังกล่าว จึงจะกล่าวถึงในภายหลัง และนี่คือรูปตัวอย่างในแต่ละ Profile ของ Basic Capture Other Captures ผมบอกตามตรงว่า Capture Profiles ภายใต้หัวข้อนี้ ผมลองใช้แค่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ A Freehand Region และ Text from a Window ที่เหลือยังไงผมจะลองดูแล้วจะโพสต์อีกครั้งภายหลังครับ ตัวอย่างรูปที่จับ อย่างที่บอกครับ ตอนนี้ผมใช้แค่ 2 อย่างรูปเลยมีแค่นี้ อย่าลืมนะครับ หลังจากที่คุณใช้โปรแกรมจับภาพแล้วปิดโปรแกรมไป เมื่อเปิดใหม่มันจะจำ Profile ครั้งหลังสุดที่คุณใช้ก่อนที่จะปิดโปรแกรม ดังนั้นเมื่อคุณจะเริ่มใช้มันจับภาพ ควรจะเช็คก่อนว่ามันกำลังอยู่ใน Profile ไหน มาตอนนี้เราจะกล่าวถึงรายละเอียดในส่วนการตั้งค่า Capture Setting ซึ่งเป็นหัวใจของการจับภาพ ทำให้รูปที่เราจับมาเป็นแบบที่เราต้องการ ส่วนประกอบในหัวข้อนี้แสดงอยู่ในรูปครับ ในส่วนที่ 1 Capture Profile คือรูปแบบการจับภาพที่ได้กล่าวไปแล้วในตอนแรก ส่วนที่ 2 Hotkey คือคีย์ลัดที่เรากำหนดขึ้นเองในการสั่งงานจับภาพ เราสามารถเปลี่ยนแปลงโดยการเลือกที่เมนู Tools >> Program Preferences ดังรูป หัวข้อที่ 3 Capture Mode แบ่งเป็น 4 ชนิด ซึ่งเราสามารถเลือกได้โดยการคลิกที่ไอคอน 1. ภาพ (Image Capture) 2. ตัวหนังสือ (Text Capture) 3. ภาพเคลื่อนไหว (Video Capture) 4. เว็บเพ็จ (Web Capture) หัวข้อที่ 4 Input & Properties ดูรายละเอียดตามภาพเลยครับ หลังจากเราได้ทราบว่าในส่วน Input มีรายละเอียดอะไรแล้ว เราก็มาดูรายละเอียดในส่วนของ Properties กันต่อไปครับ รูปที่ 1 ของ Input Properties ประกอบด้วย General & Fixed Region Tab รูปสุดท้ายของ Input Properties มีอีก 3 Tabs ด้วยกัน คือ Menu , Scrolling & Scanner & Cameras Tab จาก 2 รูปที่ผ่านมา เราจะเห็นว่า Input Properties Dialog box จะมีทั้งหมด 5 Tabs ให้ปรับใช้ ถ้าอยากจะลองใช้ก็ปรับใช้ดูนะครับ แต่ถ้าไม่ใช้ก็ไม่เป็นไร เพราะส่วนมากโปรแกรมมันก็ตั้งค่า Default มาให้เราอยู่แล้ว มาดูหัวข้อที่ 5 กันครับ Output Properties ในส่วนนี้คือการนำภาพที่ได้จากการจับภาพมาใช้ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะนำภาพที่ได้ไปทำอะไร โดยมีรายละเอียดตามรูปซึ่งผมจับภาพมาจาก Help พร้อมทั้งใส่รายละเอียดภาษาไทยอย่างคร่าวๆว่า แต่ละแบบนั้นจะนำไปใช้แบบไหนครับ |
แต่ง LOMO DREAMLIGHT PHOTO EDITOR
เอาใจคนรักภาพแบบโลโม่อีกแล้ว หรืออาจจะไม่ใช่ โลโม่ แต่เป็นอันว่าแต่งให้สวยเหมือนภาพข้างบนล่ะกัน อืม ว่าแต่ต้องหาคนสวยๆ เหมือนข้างบนนะ ถึงจะสวยเหมือน โปรแกรมแต่งภาพที่เรานำมาทำวันนี้ ก็โปรแกรมเดิมๆ นั่นคือ DreamLight Photo Editor ดูเหมือนว่าโปรแกรมนี้จะฟรี ดาวน์โหลดมาใช้ได้ไม่จำกัดอายุขั้นต่ำในการดาวน์โหลดมาใช้งาน ถึงคุณจะอายุเท่าไหร่ คุณก็สามารถแต่งรูปสวยๆ ได้ มาเริ่มแต่งสวยกันเลย
อันดับแรกมองไปที่ปุ่ม Open มันคือปุ่มเปิดภาพ เขาไม่ได้ติดให้โก้เฉยๆ นะ คลิกเข้าไป แล้วเปิดภาพที่เราจะนำมาแต่งสวยด้วย DreamLight Photo Editor
หน้านี้ไม่ยาก ทำตามตัวเลขก็ได้
1. คลิกที่คำว่า Color
2. เลือกแม่แบบภาพสวยๆ ตามตัวอย่างที่ต้องการ สวยทุกภาพแหล่ะ ถ้าคนสวยอยู่แล้ว
3. คลิก Change Color ถ้าต้องการเปลี่ยนสีภาพ แต่ผู้เขียนไม่เปลี่ยน เพราะนางแบบผู้เขียนสวยอยู่แล้ว ภาพไหนก็สวย
4. เมื่อถุกใจ ใช้เธอเลย ก็ Apply ซะ จากนั้นก็ Save เก็บไว้ที่กล่องดวงใจ Notebook เราไง
เสร็จแล้ว ภาพแบบโลโม่ๆ ด้วย DreamLight Photo Editor
บอกแล้ว ยังไงก็ยังสวย
Photoscape คืออะไร โฟโต้สเคป คือ โปรแกรมตกแต่งรูปภาพ และทำภาพเคลื่อนไหว
Photoscape คืออะไร Photoscape คือโปรแกรมแต่งรูปภาพที่ใช้งานง่าย และมีเครื่องมือสาหรับแต่งภาพครบครัน ที่สาคัญเป็นโปรแกรมฟรีอีกด้วย โปรแกรมมีขนาดเล็ก ไม่กินทรัพยากรของเครื่องมากเมื่อเทียบกับโปรแกรมแต่งภาพอื่น ปัจจุบันโปรแกรม Photoscape มีเวอร์ชั่นภาษาไทย ซึ่งทำให้เราสามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น คุณสมบัติของ Photoscape นอกจากใช้ตกแต่งภาพแล้ว ยังสามารถทำภาพนิ่งให้เป็นภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation) ได้อีกด้วย |
Ulead Video Studio 9
Ulead Video Studio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอที่มีการใช้งานไม่ยากจนเกินไป เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มใช้งาน หรือผู้ที่มีประสบการณ์ตัดต่อวีดีโอมานาน เพราะโปรแกรมนี้มีเครื่องมือต่างๆสำหรับตัดต่อวีดีโออย่างครบถ้วน
โปรแกรม Ulead มีการทำงานเป็นขั้นตอนที่ง่าย เริ่มแรกจับภาพวีดีโอจากกล้องหรือว่าดึงไฟล์วีดีโอจากแผ่น VCD/DVD เข้ามา จากนั้นก็ตัดแต่งวีดีโอ เรียงลำดับเหตุการณ์ ใส่ทรานสิชั่น (transtion - เอ็ฟเฟ็กต์ที่ใส่ระหว่างคลิปวีดีโอ ทำให้การเปลี่ยนคลิปวีดีโอจากคลิปหนึ่งไปยังอีกคลิปหนึ่งน่าดูยิ่งขึ้น) ทำภาพซ้อนภาพ ใส่ไตเติ้ล ใส่คำบรรยาย แทรกดนตรีประกอบ ซึ่งส่วนต่างๆ เหล่านี้จะแยกแทร็คกัน เมื่อทำเสร็จแล้วขั้นตอนสุดท้ายก็คือ การเขียนวีดีโอลงแผ่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)